ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (PETER
M. SENGE’S) Peter M. Senge’s ได้เสนอแนวคิดของการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้
ที่เรียกว่า The five disciplines (วินัย 5 ประการ) ซึ่งเป็นแนวคิดสาคัญ 5
ประการที่จะผลักดันและสนับสนุนให้เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ จะมุ่งเน้นไปที่คนเพราะ
Peter M.Senge’s มีความคิดว่าการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้จะต้องเริ่มการพัฒนาคนก่อน
คาว่า “วินัย (Disciplines)” หมายถึง
เทคนิควิธีที่ต้องศึกษาใคร่ครวญอยู่เสมอแล้วนามาปฏิบัติ เป็นแนวทางการพัฒนา
เพื่อการแสวงหาการเสริมสร้างทักษะ หรือสมรรถนะ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถผ่านการปฏิบัติ
เพื่อความคิดสร้างสรรค์เพื่อ สิ่งใหม่ ๆ วินัย 5 ประการ
ประกอบด้วย วินัยประการที่ 1: ความรอบรู้แห่งตน (Personal
Mastery)วินัยประการที่ 2: แบบแผนความคิดอ่าน
(Mental Models) วินัยประการที่ 3: วิสัยทัศน์ร่วม
(Shared Vision)วินัยประการที่ 4: การเรียนรู้ของทีม
(Team Learning)วินัยประการที่ 5: การคิดอย่างเป็นระบบ
(Systematic Thinking)
วินัยประการที่1:
ความรอบรู้แห่งตน (PERSONAL MASTERY) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ
(PETER M. SENGE’S) การเรียนรู้ขององค์การจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ
บุคคลมีการเรียนรู้เท่านั้นการฝึกฝนอบรมตนด้วยการ
เรียนรู้อยู่เสมอเป็นรากฐานสาคัญเป็นการขยายขีด
ความสามารถให้เชี่ยวชาญมากขึ้นความรอบรู้เป็นผล ร่วมของทักษะและความสามารถ
เป็นสภาพที่เป็นอยู่ ตามความเป็นจริงเห็นว่าอะไรมีความสำคัญต่อเราต่อ องค์การ
ขณะเดียวกันก็เห็นภาพในอนาคต (Vision) ที่พึงเป็นได้
วินัยประการที่ 2:
แบบแผนความคิดอ่าน (MENTAL MODELS) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ
(PETER M. SENGE’S) แผนความคิดอ่าน ได้แก่ ข้อตกลงเบื้องต้น
ความเชื่อพื้นฐาน ข้อสรุปหรือภาพลักษณ์ที่ตกผลึกใน
ความคิดอ่านของคนที่มีอิทธิพลต่อความรู้ความเข้าใจ ต่อสรรพสิ่งในโลก
มีผลต่อการประพฤติปฏิบัติ ต่อ ค่านิยม เจตคติที่เขามีต่อบุคคล สรรพสิ่งและ
สถานการณ์ทั้งหลาย หน้าที่ของวินัยประการที่ 2 ก็
เพื่อฝึกฝนให้เราได้เข้าใจ แยกแยะระหว่างสิ่งที่เราเชื่อ กับสิ่งที่เราปฏิบัติ
การสืบค้นความคิดความเชื่อของ เราทาให้เราท้าทายและปรับขยายขอบเขตและ
กระบวนการความคิดความเชื่อของเรา เข้าใจมุมมอง และการคิดของผู้อื่น
วินัยประการที่ 3:
วิสัยทัศน์ร่วม (SHARED VISION) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ
(PETER M. SENGE’S) วิสัยทัศน์หรือภาพในอนาคตที่ปรารถนาให้เกิด
มีขึ้นในองค์การนั้นเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อภาวะผู้นาทุก คน
เป็นพลังขับเคลื่อนในภารกิจทุกอย่างของ องค์การให้มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน
เป็นจุดร่วมและ พลังของการเรียนรู้ของสมาชิกในองค์การ ผู้นาต้อง
พัฒนาวิสัยทัศน์เฉพาะตน (personal vision) ขึ้นมา
ก่อนจากคุณค่าส่วนบุคคล ความห่วงใย ให้ ความสาคัญกับสิ่งใด จากการคิดได้ คิดเป็น
จากนั้น ก็ขายฝัน คิดดัง ๆ แบ่งปันให้ผู้อื่นได้รู้ เข้าใจ เห็น
คล้อยตามด้วยการสื่อสาร โน้มน้าวหรือดังที่เรียกกัน ว่า “walk the talk”ทาให้คาพูดหรือภาพนั้นเดินได้ กลายเป็นวิสัยทัศน์ร่วม (sharedvision)
ที่มีการ แบ่งปันกับผู้ที่เกี่ยวข้องในทุกระดับของ
วินัยประการที่ 4:
การเรียนรู้ของทีม (TEAM LEARNING) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ
(PETER M. SENGE’S) เราจะทาอย่างไรให้ระดับความสามารถของทีม
เหนือกว่าระดับความสามารถของรายบุคคลในทีม ทีมสามารถพัฒนาขีดความสามารถประสานสัมพันธ์
กันได้เป็นอย่างดี แนววิธีฝึกฝนสร้างการเรียนรู้ของ ทีมที่ดีและคุ้มค่านั้น Senge
เห็นว่า ทาได้โดยผ่านการ พูดคุย (dialogue) และการอภิปราย
(discussion) ของ ผู้คนในองค์การ
ทีมในองค์การที่ขาดการปรับทิศทาง ทาความเข้าใจระหว่างกันก่อนจะมีพลังงานที่สูญเสีย
มากมาย ขาดทิศทางร่วมกัน ขาดการประสาน สัมพันธ์ที่ดี
วินัยประการที่ 5
: การคิดอย่างเป็นระบบ (SYSTEMMATIC THINKING) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (PETER M. SENGE’S) เป็นวินัยที่มีความสาคัญมากที่สุด
ที่ในความเป็น จริง ผู้คน บุคลากร ผู้บริหารหลายคนไม่สามารถ ฝึกฝนตนเองให้มีความสามารถคิดได้อย่างเป็นระบบ
อย่างเท่าทันการณ์ หรือคิดได้ล่วงหน้า ผลก็คือทาให้
เกิดปัญหาในการปฏิบัติงานในการบริหารมากมาย ลักษณะของการคิดอย่างเป็นระบบที่ดี
ได้แก่ 1. คิดเป็นกลยุทธ์ ชัดเจนในเป้าหมาย มีแนวทางที่
หลากหลาย แน่วแน่ในเป้าหมาย มีวิสัยทัศน์ 2. คิดทันการ
ไม่ช้าเกินการณ์ มองให้เห็นความจริง บางที ชิงปฏิบัติก่อนปัญหาจะเกิด 3. เล็งเห็นโอกาส ในทุกปัญหามีโอกาส ไม่ย่อท้อ สร้าง ประโยชน์
มองให้ได้ประโยชน์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น